[ใหม่] ตลาดอีคอมเมิร์ซในประเทศไทย
152 สัปดาห์ ที่แล้ว
- กรุงเทพมหานคร - เขตห้วยขวาง - คนดู 54
รายละเอียด
ประเทศไทยจะกลายเป็นตลาดอีคอมเมิร์ซที่ใหญ่เป็นอันดับสองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเติบโตขึ้นอย่างเรื่อยๆ ศักยภาพทางการตลาดของประเทศไทยสามารถเห็นได้อย่างชัดเจน ปัจจุบันมีผู้เล่นต่างชาติรายใหญ่และหลายประเทศเข้ามาในประเทศไทย แล้วประเทศไทยจะมีส่วนแบ่งการตลาดที่เพียงพอสำหรับพวกเขาที่แยกออกไปหรือไม่
**แนวโน้มการพัฒนาอีคอมเมิร์ซในประเทศไทย**
รูปที่ 1 แสดงถึงข้อมูลทางสถิติของ Statista และการเปรียบเทียบรายได้ของอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซในประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งแต่ปี 2018 ~ 2022
แม้ว่าประเทศสิงคโปร์จะเป็นตลาดอีคอมเมิร์ซที่ใหญ่เป็นอันดับสอง แต่ในปัจจุบันคาดว่าประเทศไทยจะแซงหน้าประเทศสิงคโปร์ในปี 2020 เพื่อรั้งจะเป็นอันดับที่สอง และในปี 2018 ตลาดอีคอมเมิร์ซของไทยจะมีมูลค่า 3.54 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ คาดว่าอัตราการเติบโตต่อปีระหว่างปี 2018 ~ 2022 จะอยู่ที่ประมาณ 13.2% และอาจจะสูงถึง 5.83 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2022
รูปที่ 2 แสดงอัตราการเติบโตของรายได้โดยประมาณของอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ช่วงตั้งแต่ปี 2018 ~ 2022
ข้อมูลทางสถิติจาก statista มีการคาดการณ์ว่าอัตราการเติบโตรายได้อีคอมเมิร์ซในเอเชียตะวันตกเฉียงใต้จะมีการชะลอตัวลง ในประเทศไทยจะชะลอตัวลงจาก19.65%ลดลงมาเป็น 9.75%ในปี2561 แม้ว่าโดยรวมทั้งภูมิภาคของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จะมีปรากฎการณ์ตามกลไกตลาด ที่ตลาดค่อยๆขยายเติมโตไปถึงจุดหนึ่งจะชะลอการเติบโต สำหรับประเทศไทยแล้วในช่วงปี 2565 อัตราการเติบโตอยู่ในอันดับ 5 เท่านั้น สำหรับบทความนี้เพื่อให้เข้าใจการเติบโตของธุรกิจอีคอมเมิร์ซในไทยที่ค่อยๆเขยายและเติบโตอย่างช้าและมั่นคง
**การวิเคราะห์ตลาดอีคอมเมิร์ซของประเทศไทยและการพัฒนาอีคอมเมิร์ซของประเทศไทย**
การแข่งขันในตลาดอีคอมเมิร์ซของประเทศไทยนั้นมีความเข้มข้นและดุเดือดมากๆการทำสงครามราคานับวันยิ่งมีความรุ่นแรงมากขึ้นเรื่อยๆผู้ค้าปลีกออนไลน์ยอมเสียผลกำไรโดยการลดราคาของสินค้า แต่มีการให้ส่วนลดที่เพิ่มมากขึ้น อีกทั้งยังลดราคาค่าขนส่งเพื่อลดความสูญเสียให้น้อยที่สุด ทุกแพลตฟอร์มต้องการใช้ประโยชน์จากตลาดอีคอมเมิร์ซของประเทศไทยที่ยังอยู่ในช่วงเร่ิมต้น เพื่อแยกตัวออกจากคู่แข่งและครองตำแหน่งผู้นำตลาดอีคอมเมิร์ซให้ได้
**Lazada **
บริษัทย่อยของอาลีบาบาอย่างลาซาดากล่าวว่าประเทศไทยจัดอยู่ในอันดับที่สามในตลาดการช็อปปิ้งออนไลน์บนมือถือ อันดับแรกคือจีนและอินโดนีเซียตามลำดับ ทาง Lazada กำลังวางแผนพิจารณาเปิด "ร้านค้าทางกายภาพ" ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์ออนไลน์
คุณ Thanida Suiwatana ประธานเจ้าหน้าที่การตลาด บริษัท Lazada แห่งประเทศไทย กล่าวว่า: "แม้เศรษฐกิจจะตกต่ำ แต่การค้าออนไลน์จะยังคงเติบโตในอัตราสองเท่าต่อปีคิดเป็นยอดค้าปลีกรวมของประเทศไทย เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่แล้วในช่วงครึ่งปีสุดท้ายอยู่ที่ 3%" คุณ Thanida กล่าวว่า ยอดค้าปลีกทั้งหมดในประเทศไทย เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2019 Lazada พบว่าในช่วงเช้าเวลา 10:00-11:00 น. ในวันจันทร์จะเป็นช่วงเวลาที่คนไทยช้อปซื้อของมากที่สุด โดยเฉลี่ยแล้วคนไทยแต่ละคนจะใช้เวลาอยู่ในแอพลาซาดา 10.3 นาที เมื่อเทียบกับปีที่แล้ว ในช่วงครึ่งแรกของปี 2019 ผู้ใช้แอพรายเดือนของ Lazada เพิ่มขึ้นถึง 58% ผู้ใช้รายวันเพิ่มขึ้น 69% และยอดขายเพิ่มขึ้น 68.3% จังหวัดนราธิวาส ยะลา และสระแก้ว เป็นสามจังหวัดที่มียอดขายสูงมากและเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก
โทรศัพท์มือถือและสินค้าเสื้อผ้าสตรีเป็นสินค้ายอดฮิต ในช่วงครึ่งปีหลังนี้ Lazada คาดว่าโทรศัพท์มือถือ เสื้อผ้าสตรีและเสื้อผ้าผู้ชาย ผ้าอ้อมเด็ก และอาหารเสริมจะกลายเป็นสินค้าที่ขายดีที่สุด คุณ Thanida ยังกล่าวอีกว่า Lazada ได้ลดเงินอุดหนุนให้กับค่าใช้จ่ายของแพลตฟอร์ม เพื่อที่จะมอบบริการจัดส่งสินค้าฟรีให้กับผู้ใช้งาน ในอดีต Lazada เคยมอบส่วนลดการจัดส่งสูงสุดถึง 70% แต่ตอนนี้ได้ลดลงเป็นส่วนลด 30% เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมทางการตลาด สินค้าอิสระของ Lazada จะยังคงให้บริการจัดส่งฟรีต่อไป
**Shopee**
อากาธา โซห์(Agatha Soh)หัวหน้าฝ่ายการตลาดของ Shopee Thailand กล่าวว่า ในปีที่ผ่านมา Shopee ได้เติบโตในประเทศไทยเป็นอย่างมาก "Shopee มีผู้ใช้ในประเทศไทยมากกว่า30ล้านคน ผ่านการมองที่ทะลุปรุโปร่งและละเอียดรอบคอบ เราได้ออกแบบประสบการณ์การช้อปปิ้งพิเศษให้กับผู้บริโภคชาวไทย"
อากาธา โซห์ ยังสรุป6ข้อสำคัญของการตลาด e-Commerce ของครึ่งปีแรกของไทยไว้ด้วย :
1. การช้อปปิ้งออนไลน์กำลังจะขยายจากกรุงเทพฯไปยัง บึงกาฬ อุดรธานี สตูลและจังหวัดอื่นๆ นี่เป็นสถานที่ไม่กี่แห่งที่กิจกรรมช้อปปิ้งของShopeeเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วในต้นปีนี้
2. นักช้อปออนไลน์ในไทยจะชอบซื้อสินค้าที่เกี่ยวกับสุขภาพ ความสวยความงาม มือถือ ของเล็กๆน้อย รวมไปถึงสินค้าในครอบครัวและชีวิตประจำวัน ผลิตภัณฑ์บำรุงผิว มาส์ก และผลิตภัณฑ์อื่นๆซึ่งเป็นที่นิยมมากในประเทศไทย รวมถึงสินค้าเทคโนโลยีอย่าง สมาร์ทโฟน นาฬิกาอัจฉริยะ ก็เป็นที่นิยมเช่นเดียวกัน
3. ต่างจากLazada คนไทยมักจะซื้อสินค้าบน Shopee ในช่วงบ่ายและข่วงกลางคืน โดยเฉพาะระหว่างเวลา 12.00 น. ถึง 14.00 น. และ 21.00 น. ถึง 23.00 น. ซึ่งสอดคล้องกับลักษณะการจับจ่ายออนไลน์บนมือถือของประเทศไทย เนื่องจากอัตราการรุกของสมาร์ทโฟนในประเทศไทยยังคงเติบโตอย่างรวดเร็ว และคนไทยมักซื้อสินค้าออนไลน์ในช่วงพักกลางวันและเวลาว่างก่อนเข้านอน คนไทยยังใช้โทรศัพท์มือถือดูสินค้าระหว่างทางกลับบ้านหลังจากเลิกงาน กิจกรรมของผู้ใช้ตั้งเริ่มแต่เวลา 18.00 น. ยาวไปถึง 21.00 น.
4. กิจกรรมการช็อปปิ้งออนไลน์ของประเทศไทยถึงจุดสูงสุดในช่วงกลางสัปดาห์ และวันพุธเป็นวันที่ยอดขายประจำสัปดาห์ของสูงสุด Shopee
5.คนไทยยังไม่ไว้วางใจการชำระเงินออนไลน์ แต่จะเลือกชำระเงินปลายทางเมื่อสินค้าถึงค่อยชำระเงินคือช่องทางเเรกที่คนไทยเลือก ชำระเงินแบบไม่ใช้เงินสด เช่น บัตรเครดิต เป็นวิธีการชำระเงินที่ใช้สำหรับผู้ใช้ในกรุงเทพฯ ในขณะที่ผู้ใช้นอกกรุงเทพฯ ยังต้องการใช้เงินสดในการชำระอยู่ ฉนั้นพวกเค้าจะชอบแบบสินค้าถึงเเล้วค่อยโอนเงิน
6.Shopee ฟังก์ชั่นไลฟ์สดของ Shopee กำลังเป็นที่นิยมมากขึ้นเรื่อยๆ ในหมู่ผู้ใช้ชาวไทย เนื่องจากการไลฟ์สดสามารถให้การโต้ตอบแบบเรียลไทม์ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายได้
**SPELL **
เป็นแพลตฟอร์มสำหรับบุคคลที่สามในเครือข่ายช้อปปิ้งรูปแบบกลุ่มเป็นของ บริษัทในกรุงเทพ บริษัททูเท็นทูเทรดดิ้งจำกัด ลงทะเบียนเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2016 ใช้กลุ่มโซเชียลที่เข้าร่วมเป็นแบบอย่างหลักในธีมของความหรูหรา
รวมองค์ประกอบทางสังคมเข้ากับการดำเนินการอีคอมเมิร์ซ ผ่านรูปแบบ "โซเชียล + อีคอมเมิร์ซ" เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ใช้ให้มากขึ้นและสามารถสัมผัสความสุขในการช้อปปิ้ง โดยมีเป้าหมายเพื่อรวบรวมพลังของผู้คนให้มากขึ้น เพื่อให้ผู้ใช้สามารถซื้อผลิตภัณฑ์ที่ดีขึ้นในราคาที่ต่ำกว่า พร้อมสัมผัสสิทธิประโยชน์และความสนุกสนานที่มากขึ้น แนวความคิดทางสังคมที่เกิดขึ้นจากการสื่อสารและการแบ่งปันได้ค่อยๆ กลายเป็นแนวคิดใหม่ของโซเชียลอีคอมเมิร์ซที่ไม่เหมือนใคร
ตามรายงานทางการเงินอย่างเป็นทางการเพียงครึ่งปีมีผู้คนลงทะเบียนผู้ใช้ได้ถึง 10 ล้านคน
**เพราะมีดาราเป็นพรีเซ็นเตอร์เพื่อโฆษณา?
**เพราะสินค้าราคาถูก?
**เพราะมีช่องทางการจัดหาสินค้าราคาถูก?
อะไรคือเหตุผลที่ทำให้สิ่งใหม่ๆพัฒนาได้อย่างรวดเร็วขนาดนี้ ให้บทความนี้ที่มีความสนใจอย่างมากเกี่ยวกับ SPELL ดังนั้นเราจึงเริ่มต้นเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องนี้อย่างลึกซึ้ง
มีรายงานว่าจุดหลักของรูปแบบใหม่ของspell คือการลงทะเบียนสมาชิก รวมกลุ่มกันเพื่อได้โบนัส ในตลาดอีคอมเมิร์ซที่ดุเดือดอย่างนี้ ถ้าอยากให้ทุกคนจดจำได้อย่างรวดเร็ว สองจุดนี้คือสิ่งสำคัญที่สุด ราคาที่ถูกสามารถดึงดูดลูกค้า การลงทะเบียนและเติมเงินสามารถผูกมัดผู้บริโภคเอาไว้ ทำให้มีจำนวนผู้บริโภคตามที่เราต้องการ ลูกค้าที่ลงทะเบียนสามารถหั่นราคาสินค้าเพื่อให้ได้โบนัสเงินคืน ข้าพเจ้าคิดว่าแอพนี้ให้เงินฟรีหรือปล่าว มันมีเรื่องที่ดีขนาดนี้บนโลกด้วยเหรอ ดังนั้นจึงสำรวจด้วยความสงสัยและได้เรียนรู้ว่า เบื้องหลังของแอพspellมีนักลงทุนจากประเทศสิงคโปร์คอยสนับสนุนอยู่ ใช้การให้โบนัสเงินคืนเพื่อให้ลูกค้าจดจำแอพนี้ไว้ สินค้านั้นเป็นของจริงและมีราคาถูก ใช้ผู้บริโภคในการโปรโมทแอพ นี่พูดได้ว่าแอพspellเข้ามายังประเทศไทยและแย่งลูกค้าจากแพลต์ฟอร์มอื่นๆ และมันก็เป็นการตอบโต้กลับที่เยี่ยมยอดมากๆ ข้าพเจ้าอยากจะพูดว่ามีเงินทุนนี่ดีจริงๆ เมื่อพูดถึงตรงนี้ข้าพเจ้าก็คิดว่าทำไมแอพspellต้องการเข้ามายึดครองตลาดอีคอมเมิร์ซในไทย หรือว่าเขามีกลยุทธ์ที่ใหญ่กว่านี้อีกเหรอ
ด้วยสถานการณ์ที่มีผู้บริโภคเปลี่ยนไปช้อปออนไลน์เพื่อความสะดวกเพิ่มเยอะขึ้นเรื่อยๆ ประเทศไทยจะกลายเป็นตลาดอีคอมเมิร์ซที่ใหญ่เป็นอันดับสองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ศักยภาพทางการตลาดของประเทศไทยสามารถเห็นได้อย่างชัดเจน ปัจจุบันมีผู้เล่นต่างชาติรายใหญ่หลายรายเข้ามา ประเทศไทยจะมีส่วนแบ่งการตลาดที่เพียงพอสำหรับพวกเขาที่จะแบ่งแยกออกหรือไม่ แนวโน้มการพัฒนาอีคอมเมิร์ซในประเทศไทยจะเป็นในทิศทางไทย
**แนวโน้มการพัฒนาอีคอมเมิร์ซในประเทศไทย**
รูปที่ 1 แสดงถึงข้อมูลทางสถิติของ Statista และการเปรียบเทียบรายได้ของอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซในประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งแต่ปี 2018 ~ 2022
แม้ว่าประเทศสิงคโปร์จะเป็นตลาดอีคอมเมิร์ซที่ใหญ่เป็นอันดับสอง แต่ในปัจจุบันคาดว่าประเทศไทยจะแซงหน้าประเทศสิงคโปร์ในปี 2020 เพื่อรั้งจะเป็นอันดับที่สอง และในปี 2018 ตลาดอีคอมเมิร์ซของไทยจะมีมูลค่า 3.54 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ คาดว่าอัตราการเติบโตต่อปีระหว่างปี 2018 ~ 2022 จะอยู่ที่ประมาณ 13.2% และอาจจะสูงถึง 5.83 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2022
รูปที่ 2 แสดงอัตราการเติบโตของรายได้โดยประมาณของอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ช่วงตั้งแต่ปี 2018 ~ 2022
ข้อมูลทางสถิติจาก statista มีการคาดการณ์ว่าอัตราการเติบโตรายได้อีคอมเมิร์ซในเอเชียตะวันตกเฉียงใต้จะมีการชะลอตัวลง ในประเทศไทยจะชะลอตัวลงจาก19.65%ลดลงมาเป็น 9.75%ในปี2561 แม้ว่าโดยรวมทั้งภูมิภาคของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จะมีปรากฎการณ์ตามกลไกตลาด ที่ตลาดค่อยๆขยายเติมโตไปถึงจุดหนึ่งจะชะลอการเติบโต สำหรับประเทศไทยแล้วในช่วงปี 2565 อัตราการเติบโตอยู่ในอันดับ 5 เท่านั้น สำหรับบทความนี้เพื่อให้เข้าใจการเติบโตของธุรกิจอีคอมเมิร์ซในไทยที่ค่อยๆเขยายและเติบโตอย่างช้าและมั่นคง
**การวิเคราะห์ตลาดอีคอมเมิร์ซของประเทศไทยและการพัฒนาอีคอมเมิร์ซของประเทศไทย**
การแข่งขันในตลาดอีคอมเมิร์ซของประเทศไทยนั้นมีความเข้มข้นและดุเดือดมากๆการทำสงครามราคานับวันยิ่งมีความรุ่นแรงมากขึ้นเรื่อยๆผู้ค้าปลีกออนไลน์ยอมเสียผลกำไรโดยการลดราคาของสินค้า แต่มีการให้ส่วนลดที่เพิ่มมากขึ้น อีกทั้งยังลดราคาค่าขนส่งเพื่อลดความสูญเสียให้น้อยที่สุด ทุกแพลตฟอร์มต้องการใช้ประโยชน์จากตลาดอีคอมเมิร์ซของประเทศไทยที่ยังอยู่ในช่วงเร่ิมต้น เพื่อแยกตัวออกจากคู่แข่งและครองตำแหน่งผู้นำตลาดอีคอมเมิร์ซให้ได้
**Lazada **
บริษัทย่อยของอาลีบาบาอย่างลาซาดากล่าวว่าประเทศไทยจัดอยู่ในอันดับที่สามในตลาดการช็อปปิ้งออนไลน์บนมือถือ อันดับแรกคือจีนและอินโดนีเซียตามลำดับ ทาง Lazada กำลังวางแผนพิจารณาเปิด "ร้านค้าทางกายภาพ" ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์ออนไลน์
คุณ Thanida Suiwatana ประธานเจ้าหน้าที่การตลาด บริษัท Lazada แห่งประเทศไทย กล่าวว่า: "แม้เศรษฐกิจจะตกต่ำ แต่การค้าออนไลน์จะยังคงเติบโตในอัตราสองเท่าต่อปีคิดเป็นยอดค้าปลีกรวมของประเทศไทย เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่แล้วในช่วงครึ่งปีสุดท้ายอยู่ที่ 3%" คุณ Thanida กล่าวว่า ยอดค้าปลีกทั้งหมดในประเทศไทย เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2019 Lazada พบว่าในช่วงเช้าเวลา 10:00-11:00 น. ในวันจันทร์จะเป็นช่วงเวลาที่คนไทยช้อปซื้อของมากที่สุด โดยเฉลี่ยแล้วคนไทยแต่ละคนจะใช้เวลาอยู่ในแอพลาซาดา 10.3 นาที เมื่อเทียบกับปีที่แล้ว ในช่วงครึ่งแรกของปี 2019 ผู้ใช้แอพรายเดือนของ Lazada เพิ่มขึ้นถึง 58% ผู้ใช้รายวันเพิ่มขึ้น 69% และยอดขายเพิ่มขึ้น 68.3% จังหวัดนราธิวาส ยะลา และสระแก้ว เป็นสามจังหวัดที่มียอดขายสูงมากและเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก
โทรศัพท์มือถือและสินค้าเสื้อผ้าสตรีเป็นสินค้ายอดฮิต ในช่วงครึ่งปีหลังนี้ Lazada คาดว่าโทรศัพท์มือถือ เสื้อผ้าสตรีและเสื้อผ้าผู้ชาย ผ้าอ้อมเด็ก และอาหารเสริมจะกลายเป็นสินค้าที่ขายดีที่สุด คุณ Thanida ยังกล่าวอีกว่า Lazada ได้ลดเงินอุดหนุนให้กับค่าใช้จ่ายของแพลตฟอร์ม เพื่อที่จะมอบบริการจัดส่งสินค้าฟรีให้กับผู้ใช้งาน ในอดีต Lazada เคยมอบส่วนลดการจัดส่งสูงสุดถึง 70% แต่ตอนนี้ได้ลดลงเป็นส่วนลด 30% เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมทางการตลาด สินค้าอิสระของ Lazada จะยังคงให้บริการจัดส่งฟรีต่อไป
**Shopee**
อากาธา โซห์(Agatha Soh)หัวหน้าฝ่ายการตลาดของ Shopee Thailand กล่าวว่า ในปีที่ผ่านมา Shopee ได้เติบโตในประเทศไทยเป็นอย่างมาก "Shopee มีผู้ใช้ในประเทศไทยมากกว่า30ล้านคน ผ่านการมองที่ทะลุปรุโปร่งและละเอียดรอบคอบ เราได้ออกแบบประสบการณ์การช้อปปิ้งพิเศษให้กับผู้บริโภคชาวไทย"
อากาธา โซห์ ยังสรุป6ข้อสำคัญของการตลาด e-Commerce ของครึ่งปีแรกของไทยไว้ด้วย :
1. การช้อปปิ้งออนไลน์กำลังจะขยายจากกรุงเทพฯไปยัง บึงกาฬ อุดรธานี สตูลและจังหวัดอื่นๆ นี่เป็นสถานที่ไม่กี่แห่งที่กิจกรรมช้อปปิ้งของShopeeเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วในต้นปีนี้
2. นักช้อปออนไลน์ในไทยจะชอบซื้อสินค้าที่เกี่ยวกับสุขภาพ ความสวยความงาม มือถือ ของเล็กๆน้อย รวมไปถึงสินค้าในครอบครัวและชีวิตประจำวัน ผลิตภัณฑ์บำรุงผิว มาส์ก และผลิตภัณฑ์อื่นๆซึ่งเป็นที่นิยมมากในประเทศไทย รวมถึงสินค้าเทคโนโลยีอย่าง สมาร์ทโฟน นาฬิกาอัจฉริยะ ก็เป็นที่นิยมเช่นเดียวกัน
3. ต่างจากLazada คนไทยมักจะซื้อสินค้าบน Shopee ในช่วงบ่ายและข่วงกลางคืน โดยเฉพาะระหว่างเวลา 12.00 น. ถึง 14.00 น. และ 21.00 น. ถึง 23.00 น. ซึ่งสอดคล้องกับลักษณะการจับจ่ายออนไลน์บนมือถือของประเทศไทย เนื่องจากอัตราการรุกของสมาร์ทโฟนในประเทศไทยยังคงเติบโตอย่างรวดเร็ว และคนไทยมักซื้อสินค้าออนไลน์ในช่วงพักกลางวันและเวลาว่างก่อนเข้านอน คนไทยยังใช้โทรศัพท์มือถือดูสินค้าระหว่างทางกลับบ้านหลังจากเลิกงาน กิจกรรมของผู้ใช้ตั้งเริ่มแต่เวลา 18.00 น. ยาวไปถึง 21.00 น.
4. กิจกรรมการช็อปปิ้งออนไลน์ของประเทศไทยถึงจุดสูงสุดในช่วงกลางสัปดาห์ และวันพุธเป็นวันที่ยอดขายประจำสัปดาห์ของสูงสุด Shopee
5.คนไทยยังไม่ไว้วางใจการชำระเงินออนไลน์ แต่จะเลือกชำระเงินปลายทางเมื่อสินค้าถึงค่อยชำระเงินคือช่องทางเเรกที่คนไทยเลือก ชำระเงินแบบไม่ใช้เงินสด เช่น บัตรเครดิต เป็นวิธีการชำระเงินที่ใช้สำหรับผู้ใช้ในกรุงเทพฯ ในขณะที่ผู้ใช้นอกกรุงเทพฯ ยังต้องการใช้เงินสดในการชำระอยู่ ฉนั้นพวกเค้าจะชอบแบบสินค้าถึงเเล้วค่อยโอนเงิน
6.Shopee ฟังก์ชั่นไลฟ์สดของ Shopee กำลังเป็นที่นิยมมากขึ้นเรื่อยๆ ในหมู่ผู้ใช้ชาวไทย เนื่องจากการไลฟ์สดสามารถให้การโต้ตอบแบบเรียลไทม์ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายได้
**SPELL **
เป็นแพลตฟอร์มสำหรับบุคคลที่สามในเครือข่ายช้อปปิ้งรูปแบบกลุ่มเป็นของ บริษัทในกรุงเทพ บริษัททูเท็นทูเทรดดิ้งจำกัด ลงทะเบียนเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2016 ใช้กลุ่มโซเชียลที่เข้าร่วมเป็นแบบอย่างหลักในธีมของความหรูหรา
รวมองค์ประกอบทางสังคมเข้ากับการดำเนินการอีคอมเมิร์ซ ผ่านรูปแบบ "โซเชียล + อีคอมเมิร์ซ" เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ใช้ให้มากขึ้นและสามารถสัมผัสความสุขในการช้อปปิ้ง โดยมีเป้าหมายเพื่อรวบรวมพลังของผู้คนให้มากขึ้น เพื่อให้ผู้ใช้สามารถซื้อผลิตภัณฑ์ที่ดีขึ้นในราคาที่ต่ำกว่า พร้อมสัมผัสสิทธิประโยชน์และความสนุกสนานที่มากขึ้น แนวความคิดทางสังคมที่เกิดขึ้นจากการสื่อสารและการแบ่งปันได้ค่อยๆ กลายเป็นแนวคิดใหม่ของโซเชียลอีคอมเมิร์ซที่ไม่เหมือนใคร
ตามรายงานทางการเงินอย่างเป็นทางการเพียงครึ่งปีมีผู้คนลงทะเบียนผู้ใช้ได้ถึง 10 ล้านคน
**เพราะมีดาราเป็นพรีเซ็นเตอร์เพื่อโฆษณา?
**เพราะสินค้าราคาถูก?
**เพราะมีช่องทางการจัดหาสินค้าราคาถูก?
อะไรคือเหตุผลที่ทำให้สิ่งใหม่ๆพัฒนาได้อย่างรวดเร็วขนาดนี้ ให้บทความนี้ที่มีความสนใจอย่างมากเกี่ยวกับ SPELL ดังนั้นเราจึงเริ่มต้นเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องนี้อย่างลึกซึ้ง
มีรายงานว่าจุดหลักของรูปแบบใหม่ของspell คือการลงทะเบียนสมาชิก รวมกลุ่มกันเพื่อได้โบนัส ในตลาดอีคอมเมิร์ซที่ดุเดือดอย่างนี้ ถ้าอยากให้ทุกคนจดจำได้อย่างรวดเร็ว สองจุดนี้คือสิ่งสำคัญที่สุด ราคาที่ถูกสามารถดึงดูดลูกค้า การลงทะเบียนและเติมเงินสามารถผูกมัดผู้บริโภคเอาไว้ ทำให้มีจำนวนผู้บริโภคตามที่เราต้องการ ลูกค้าที่ลงทะเบียนสามารถหั่นราคาสินค้าเพื่อให้ได้โบนัสเงินคืน ข้าพเจ้าคิดว่าแอพนี้ให้เงินฟรีหรือปล่าว มันมีเรื่องที่ดีขนาดนี้บนโลกด้วยเหรอ ดังนั้นจึงสำรวจด้วยความสงสัยและได้เรียนรู้ว่า เบื้องหลังของแอพspellมีนักลงทุนจากประเทศสิงคโปร์คอยสนับสนุนอยู่ ใช้การให้โบนัสเงินคืนเพื่อให้ลูกค้าจดจำแอพนี้ไว้ สินค้านั้นเป็นของจริงและมีราคาถูก ใช้ผู้บริโภคในการโปรโมทแอพ นี่พูดได้ว่าแอพspellเข้ามายังประเทศไทยและแย่งลูกค้าจากแพลต์ฟอร์มอื่นๆ และมันก็เป็นการตอบโต้กลับที่เยี่ยมยอดมากๆ ข้าพเจ้าอยากจะพูดว่ามีเงินทุนนี่ดีจริงๆ เมื่อพูดถึงตรงนี้ข้าพเจ้าก็คิดว่าทำไมแอพspellต้องการเข้ามายึดครองตลาดอีคอมเมิร์ซในไทย หรือว่าเขามีกลยุทธ์ที่ใหญ่กว่านี้อีกเหรอ
ด้วยสถานการณ์ที่มีผู้บริโภคเปลี่ยนไปช้อปออนไลน์เพื่อความสะดวกเพิ่มเยอะขึ้นเรื่อยๆ ประเทศไทยจะกลายเป็นตลาดอีคอมเมิร์ซที่ใหญ่เป็นอันดับสองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ศักยภาพทางการตลาดของประเทศไทยสามารถเห็นได้อย่างชัดเจน ปัจจุบันมีผู้เล่นต่างชาติรายใหญ่หลายรายเข้ามา ประเทศไทยจะมีส่วนแบ่งการตลาดที่เพียงพอสำหรับพวกเขาที่จะแบ่งแยกออกหรือไม่ แนวโน้มการพัฒนาอีคอมเมิร์ซในประเทศไทยจะเป็นในทิศทางไทย